[KOYO] [KPP] Download & Install Koyo PLC Programming Software (EP.1)

[KOYO] [KPP] Download & Install Koyo PLC Programming Software (EP.1) “ KPP Basic Training Guide EP.1 บทความนี้จะแนะนำเกี่ยวกับขั้นตอนการดาวน์โหลดและติดตั้งโปรแกรม Koyo PLC Programming Software ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์สำหรับเขียนโปรแกรมของ PLC KOYO DL05/DL06, DL205, DL405, SJ-Ethernet, NK1, สามารถ Download ได้ ฟรี จากหน้าเว็บไซต์ของ KOYO” www.electronics.jtekt.co.jp/en/ Overview โปรแกรม Supported Model-DL05/06 Series : DL05, DL06,-DL205 Series : D2-230(SZ-3), DL-240(SZ-4), D2-250-1, D2-260, D2-260-1, D2-262, D2-263, D2-263-1, D2-265, D2-265-1, …,-PZ […]
Meanwell เปิดตัว LAD Series แหล่งจ่ายไฟสำหรับงาน Security & Fire Alarm

Meanwell เปิดตัว LAD Series แหล่งจ่ายไฟสำหรับงาน Security & Fire Alarm กว่า 80 ประเทศทั่วโลก ที่เลือกใช้แหล่งจ่ายไฟของ Meanwell เพราะในงานอุตสาหกรรมการรักษาความปลอดภัยและสัญญาณเตือนอัคคีภัยมีผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องด้วยกันอยู่ 3 ประเภท ได้แก่ประเภท PCB ประเภทราง Din-Rail และประเภท Front Mounting ซึ่งรวมถึงซีรีส์ PSC, DRC, DRS, SCP และ AD ที่ครอบคลุมตั้งแต่ 35W~480W เนื่องจากความต้องการที่เกิดขึ้นของอุปกรณ์การรักษาความปลอดภัยและสัญญาณเตือนอัคคีภัยนอกจากความน่าเชื่อถือได้แล้ว อุปกรณ์ยังต้องได้รับการรับรองมาตราฐานอีกด้วย นี่จึงเป็นที่มาของการเปิดตัวอุปกรณ์สวิตชิ่งพาวเวอร์ซัพพลายสำหรับการรักษาความปลอดภัยและสัญญาณเตือนอัคคีภัย LAD Series ขนาดกำลัง 120W, 240W, 360W และ 600W เป็นต้น อุปกรณ์ได้รับการออกแบบให้มีขนาดความสูงไม่เกิน 1U คือ 4.445 cm หรือ 1.75 นิ้ว แยกเป็นรุ่นพื้นฐาน Std. และรุ่นสื่อสาร […]
DRC Series : DIN Rail Type Security Power Supply

DRC Series : DIN Rail Type Security Power Supply Switching DIN Rail Type Security Power Supply DRC Series เป็นแหล่งจ่ายไฟอีกชนิดหนึ่งที่มีความพิเศษเพราะมีการใช้งานร่วมกับแบตเตอรี่ ติดตั้งร่วมกับราง Din-Rail 35mm. ภายในตู้ Control ที่แรงดันไฟ 90~264VAC จึงใช้ได้กับระบบแรงดันไฟฟ้าได้ทั่วโลก นอกจากนี้ในส่วนของ Output ยังมี 2รุ่น คือ รุ่น A ไฟ 13.8VDC และ รุ่น B ไฟ 27.6VDC ให้เลือกใช้งาน ด้านเอาต์พุต DC ยังแบ่งออกเป็นเอาต์พุตหลัก (CH1) ซึ่งสามารถใช้กับอุปกรณ์อื่นๆได้และยังมีเอาต์พุตเสริม (CH2) ซึ่งสามารถชาร์จแบตเตอรี่ AGM lead-acid battery […]
สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายกับแหล่งจ่ายไฟ

สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายกับแหล่งจ่ายไฟ เพื่อให้ผู้อ่านทุกท่านสามารถเข้าใจง่าย บทความส่วนนี้ เนื้อหาจะค่อนข้างกระชับ เหมาะสำหรับท่านที่พึ่งเริ่มศึกษาและยังไม่เข้าใจว่า “อุปกรณ์ Switching Power Supply คืออะไร?” แตกต่างจากแหล่งจ่ายไฟอย่างไร? บทความนี้เราจะพาคุณเรียนรู้ไปพร้อมๆกัน เพื่อให้มั่นใจได้ว่า คุณจะสามารถเลือกซื้ออุปกรณ์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับการใช้งาน หากพูดถึงองค์ประกอบของวงจรไฟฟ้า สิ่งที่จะขาดไม่ได้ คือ แหล่งจ่ายไฟ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่จ่ายพลังงานทางไฟฟ้าให้กับโหลดหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ โดยแปลงพลังงานไฟฟ้าจากรูปแบบหนึ่ง ไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง แต่หากจะพูดให้คนทั่วไปเข้าใจง่ายๆ แหล่งจ่ายไฟก็คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการจ่ายแรงดันไฟและกระแสไฟให้กับวงจรหรืออุปกรณ์ที่ต้องการให้งาน เช่น แบตเตอรี่ ,ถ่านไฟฉาย ,เครื่องจ่ายไฟ ,ไดนาโม และ เจนเนอร์เรเตอร์ เป็นต้น แล้วมันเกี่ยวข้องยังไงกับ Switching ล่ะ ต้องชี้แจงแบบนี้ครับ Switching Power Supply จะเป็นการทำงานโดยใช้ไฟฟ้ากระแสสลับ AC แปลงเป็นไฟฟ้ากระแสตรง DC ครับ แต่ถ้าจะพูดถึงความต่างระหว่างสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายกับแหล่งจ่ายไฟ คงต้องบอกว่าไม่แตกต่างกัน เพียงแต่อุปกรณ์นี้จะเป็นการระบุเฉพาะเจาะจงลงไปเสียมากกว่า เพราะหากจะพูดกันจริงๆ อุปกรณ์นี้ก็คือหนึ่งในแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับโหลดนั่นเอง อย่างที่กล่าวมาข้างต้นเนื่องจากเป็นแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับตัวอุปกรณ์ต่างๆ จึงมีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา และยังสามารถแปลงแรงดันไฟฟ้าให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น […]
วิธีการเลือก Switching Power Supply

วิธีการเลือก Switching Power Supply เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในการปฎิบัติงาน และเป็นแนวทางในการเลือกซื้อสวิทชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย เราจะมาบอกถึงวิธีการเลือกใช้งาน Switching ให้เหมาะสมกับ Application ต่างๆ ซึ่งมีหลายปัจจัยที่ต้องคำนึงถึง บทความนี้จะมีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องหลักๆ สำหรับวิธีการใช้งาน ดังนี้ แรงดันไฟฟ้าของโหลด(V) ต้องเท่ากัน ต่ำกว่าหรือสูงกว่าไม่ได้ เพราะจะทำให้อุปกรณ์ไม่ทำงานหรือเสียหายในทันที เช่น สวิตชิ่งใช้ไฟ DC ที่ 24V ไม่สามารถนำไปใช้กับโหลดไฟที่ 48V ได้ เนื่องจากความสามารถในการขับโหลดไม่เพียงพอต่อความต้องการ กรณีเดียวกัน หากโหลด 12V แต่จ่ายไฟ 24V เข้าไป หากวงจรภายในไม่ทำการ Protect หรือแรงดันไฟสูงมากจนเกินไป ก็มีสิทธิที่สวิตชิ่งจะไหม้ได้เช่นกัน ยกเว้นกรณีที่แรงดันไฟต่างกันไม่เกิน 10% และอุปกรณ์ Switching ตัวนั้นๆ สามารถปรับ ได้ กระแสไฟฟ้าของโหลด(A) สามารถเลือกสเปคสูงกว่าได้ แต่ไม่ควรต่ำกว่า เช่นอุปกรณ์ ระบุไว้ 24V 8A สามารถใช้ 24V 10A […]
Watt คืออะไร เกี่ยวข้องยังไงกับ Switching?

Watt คืออะไร เกี่ยวข้องยังไงกับ Switching? จากบทความ วิธีการเลือกใช้ Switching Power Supply ในกรณีที่เราไม่สามารถระบุค่ากระแสไฟฟ้าได้จึงต้องนำค่ากำลังไฟฟ้า(P)ที่มีหน่วยเป็น Watt มาคำนวณและหาความหมายว่าวัตต์นั้นเกี่ยวข้องกับอะไรกับสวิตชิ่งและตัวอย่างวิธีการคำนวณให้ผู้อ่านทุกท่านได้ทำความเข้าใจกัน จะหากระแสไฟที่ใช้งานกับ Switching อย่างไรดีนะ? หนึ่งในสิ่งที่ต้องนึกถึง ในการใช้งานสวิตชิ่งกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีแรงดันไฟ DC คือ ค่ากำลังไฟฟ้า(P) มีหน่วยเป็น Watt ถ้างั้นแล้ววัตต์คืออะไรล่ะ? วัตต์ ก็คือ หน่วยวัดของกำลังไฟฟ้าที่บอกถึงพลังงานไฟฟ้าของอุปกรณ์ หรือเครื่องจักรในงานอุตสาหกรรม โดยอุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีวัตต์สูง ก็จะหมายถึงการที่มีกำลังที่มากขึ้นจากการทำงานของอุปกรณ์ อัตราบริโภคพลังงานก็จะมากกว่า เนื่องมาจากอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละประเภทจะใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับชนิดและขนาดมีลักษณะเป็นฉลากหรือเนมเพลสที่ติดอยู่ข้างตัวอุปกรณ์ ซึ่งระบุทั้งแรงดันไฟฟ้า(V)และกำลังไฟฟ้า โดยมี ตัวอย่างการคำนวณหาวัตต์ เพื่อใช้ในการเลือก Switching Power Supply มีดังนี้ โดยที่ Voltage Output : Vout หรือแรงดันไฟฟ้า มีหน่วยคือ Volt Intensité De Courant : Iout หรือ กระแสไฟฟ้า มีหน่วยคือ Amp Output Power : กำลังไฟฟ้าที่ใช้งานจริง มีหน่วยคือ Watt จากรูปที่2 […]
เลิกทำตลาด! สินค้า Schneider แมกเนติก คอนแทคเตอร์(Magnetic Contector) ในรุ่น TeSys F

เลิกทำตลาด! สินค้า Schneider แมกเนติก คอนแทคเตอร์(Magnetic Contector) ในรุ่น TeSys F TeSys Giga VS TeSys F Schneider Electric ยกเลิกการทำตลาด แมกเนติก คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) สวิทช์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า ในตะกูล TeSys F ที่ใช้กับงาน Hevvy Duty สำหรับมอเตอร์ AC3 ขนาด 115-800A ซึ่งรุ่นที่จะมาใช้งานทดแทนแทนคือ TeSys Giga โดยจะมีขนาดความกว้างลดลงจากเดิม 35% เมื่อเทียบกับ TeSys F ที่เป็นโมเดลเดิม TeSys Giga ครอบคลุมการสตาร์ทมอเตอร์ AC-3 ที่ไฟ 400V ตั้งแต่ 55kw จนถึง 450kw นอกจากรูปลักษณ์ของอุปกรณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปแล้ว สีของอุปกรณ์ยังต่างจากเดิมจากสีขาวเป็นสีดำตัดด้วยสีเขียวตามรุ่นน้องอย่าง TeSys Deca […]
[Pro-face] [BLUE] Simulation จำลองการทำงาน HMI บนคอมพิวเตอร์ (EP.6)

[Pro-face] [BLUE] Simulation จำลองการทำงาน HMI บนคอมพิวเตอร์ (EP.6) BLUE Basic Training Guide EP.6 การจำลองการทำงานของ HMI บนคอมพิวเตอร์ “ รูปแบบการ Simulation Device Simulate : ทดสอบจำลองการทำงานโดยไม่มีการเชื่อมต่อ PLC Simulate : ทดสอบจำลองการทำงานโดยเชื่อมต่อ PLC (PLC ต้องเชื่อมต่อกับ PC จึงจะมองเห็น Object) วิธีการ Simulation คลิกปุ่ม Simulation ในแถบ Toolbar -> เลือก Device Simulate / Simulate บทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง February 13, 2025 Pro-face | เริ่มต้นเขียนโปรแกรม Ladder Logic ด้วย GP-Pro […]
[Pro-face] [BLUE] Create Button, Lamp Status ด้วย Bit Register (EP.7)

[Pro-face] [BLUE] Create Button, Lamp Status ด้วย Bit Register (EP.7) “ BLUE Basic Training Guide EP.7 การสร้างปุ่มกด หลอดไฟแสดงสถานะ “ Part 1 : Bit Lamp 1. ไปที่แถบ Tool Chest2. หมวด Part -> คลิกเลือก Lamp3. ลาก Lamp ไปวางบน Screen 4. ไปที่แถบ Function5. กำหนดค่า Current Value6. เลือก Tag Variable ที่ต้องการแสดง ตัวอย่าง Lamp State Part 2 : Bit […]
[Pro-face] [BLUE] แสดงตัวเลข Numeric Display ด้วย Word Register (EP.8)

[Pro-face] [BLUE] แสดงตัวเลข Numeric Display ด้วย Word Register (EP.8) “ BLUE Basic Training Guide EP.8 การแสดงผลตัวเลขด้วย Numeric Display และการใช้ State Lamp” Part 1 : Numeric Display 1. ไปที่แถบ Tool Chest2. หมวด Part -> เลือก Numeric Display3. ลาก Numeric Display ลงบน Screen 4. ไปที่แถบ Function5. กำหนดค่า Current Value -> เลือก Tag Variable ที่ต้องการแสดง 6. กำหนดรูปแบบ […]